ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Options
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Options
Blog Article
“แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ต้องแก้พื้นที่”
สำรวจข้อจำกัดและสัมผัสการทำงานในพื้นที่จริง
นอกจาก “รายได้” แล้ว “สถานภาพครอบครัว”
ผลจากการเผยแพร่ข่าวสาร และการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ จะช่วยให้ผู้คนในสังคมไทยมีความเข้าใจ และได้เรียนรู้ถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และแนวทางการแก้ไขปัญหา ซึ่งการสร้างความตระหนักรู้จะช่วยทำให้มีการส่งเสริม เรียกร้อง และสนับสนุนให้ภาครัฐ หรือทุกๆ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแลปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เพื่อช่วยบรรเทาปัญหาให้ลดลง จนหมดสิ้นไปจากสังคมไทย
Other uncategorized cookies are people who are being analyzed and possess not been categorized into a group as however. Help you save & Acknowledge
Purposeful cookies enable to conduct certain functionalities like sharing the content of the web site on social websites platforms, obtain feedbacks, together with other 3rd-bash options. General performance Performance
อาจารย์ดนัยวัฒน์ มณี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปางมะหัน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย เสนอว่าหากเป็นไปได้ น่าจะมีการกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียน เช่น โรงเรียนจะต้องมีบุคลากรประเภทใดบ้าง จำนวนกี่คน หรือกระทั่งว่าห้องเรียนที่มีมาตรฐานควรมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ซึ่งเป็นสิ่งเราสามารถกำหนดได้ตั้งแต่ระดับรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ จนถึง สพฐ.
ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน
ปลดล็อกท้องถิ่น – โรงเรียน เพิ่มโอกาสกระจายทรัพยากร
ขาดประสิทธิภาพการสอนทักษะการคิด และอารมณ์
สถาบันวิจัยเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (วสศ.) กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.
ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นปัญหาที่อยู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน และแม้ว่าจะมีการพยายามออกนโยบายต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างเด็ดขาด โดยนโยบายลดปัญหาในสถานศึกษา และแนวทางการแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา มีดังนี้
นอกจากนี้ ยังพบว่าครูจำนวนมากต้องแบกรับภาระหน้าที่ที่หลากหลาย สวนทางกับอัตราค่าจ้างที่ควรจะได้รับ รวมถึงสวัสดิการที่ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ชนบท จึงทำให้ผู้คนจำนวนมากไม่เลือกประกอบอาชีพครู ทำให้นักเรียนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ และไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง จากปัญหาข้างต้นก็อาจสะท้อนได้ในอีกแง่มุมหนึ่งว่า ครูเองก็อาจเป็นผลผลิตมาจากความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในอดีตด้วยเช่นกัน
การสนับสนุนการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เปรียบเสมือนการช่วยเหลือทางอ้อม เพื่อให้เด็ก และเยาวชนสามารถมีโอกาสที่ดีทางการศึกษาได้ เนื่องจากเมื่อผู้ปกครองมีความรู้ หรือมีโอกาสได้เรียนรู้ในสิ่งต่างๆ รวมไปถึงมีความเข้าใจในความสำคัญของการศึกษา ก็จะช่วยให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการสนับสนุนการศึกษาให้แก่บุตรหลานของตน อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นให้บุตรหลานของตนเอาใจใส่การเรียนได้อีกด้วย